นกเปล้าหน้าแดง (ชื่อภาษาอังกฤษ:Jambu Fruit Dove, ชื่อวิทยาศาสตร์: Ptilinopus jambu) ซึ่งเป็นนกประจำถิ่นหายากของไทย มีขนาดเล็กยาวประมาณ 26-27 เซนติเมตร ซึ่งตัวผู้ ใบหน้าจะมีสีเลือดหมู ด้านบนลำตัวสีเขียว ด้านล่างลำตัวสีขาว มีลายพาดสีชมพูที่อก ที่ขนคลุมโคนขนหางด้านล่าง คางออกสีดำ ขาและนิ้วสีแดง ส่วนตัวเมียลักษณะคล้ายตัวผู้ แต่บริเวณหน้าไม่มีสีแดง แต่เป็นสีเขียวพาดทางลงมาถึงหน้าอก บริเวณท้องเป็นสีขาว ขนคลุมโคนขนหางด้านล่าง อ่านต่อเพิ่มเติมได้ที่นี่ !! พร้อมเชคหวยได้แบบฟรีๆ
นกเปล้าหน้าแดง นกหายากที่ใกล้สูญพันธุ์
นกเปล้าหน้าแดง เป็นนกที่พบตามป่าชายเลน และป่าดงดิบ ตั้งแต่ระดับพื้นราบ จนกระทั่งความสูง 1,200 เมตร จากระดับน้ำทะเล กินผลไม้เป็นอาหาร และค่อนข้างปราดเปรียว ก่อนหน้านี้เมื่อปี 2565 นักวิจัยนกของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เคยเจอตัวเมียในเขตอุทยานแห่งชาติทะเลบัน ความโดดเด่นและสวยงามของสีนก ทำให้ช่างภาพนักถ่ายนก และวิจัยนกเข้าไปเก็บภาพศึกษาธรรมชาติ และความเป็นอยู่ของนกหายากชนิดนี้
จุดดูนกเปล้าหน้าแดงได้ดีที่สุดในไทยสำหรับผู้ที่ต้องการดูนกเปล้าหน้าแดงในประเทศไทย จุดที่มีโอกาสพบเห็นนกชนิดนี้มากที่สุดคือพื้นที่ป่าดิบชื้นทางภาคใต้ที่มีการบันทึกการพบเห็นล่าสุดโดยนักดูนกและนักวิจัย เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง เป็นจุดดูนกเปล้าหน้าแดงที่ดีที่สุดในไทย ณ ปัจจุบัน เพราะมีการบันทึกการพบทั้งตัวผู้ ตัวเมีย และลูกน้อยในปีล่าสุด ถือเป็นพื้นที่ที่มีโอกาสพบเห็นนกชนิดนี้สูงสุดในประเทศและได้รับความสนใจจากนักดูนกเป็นพิเศษ.และสามารถตรวจหวยรัฐบาล ที่เเม่นยำได้ที่นี่ บอกเลยคอหวยไม่ควรพลาด !
ลักษณะเด่นของนกเปล้าหน้าแดง
- เสียงร้อง : เสียงร้องใส ชัดเจน ลีลาไพเราะ มีหลายสำเนียง ทำให้คนนิยมเลี้ยงไว้ฟังเสียงแข่งกัน หรือเป็นสัตว์เลี้ยงประดับบ้าน บางพื้นที่มีการจัดประกวดเสียงร้องนกชนิดนี้ด้วย
- อาหาร : กินหลากหลาย ทั้งผลไม้สุก ดอกไม้ แมลงขนาดเล็ก และยอดพืชอ่อนๆ ทำให้มักเห็นในสวนผลไม้หรือตามบ้านที่ปลูกไม้ผลและสามารถสัมผัสความสนุกได้ที่ RG Slot
- พฤติกรรมขี้อายและปราดเปรียว : นกชนิดนี้มีนิสัยระวังตัวสูง มักอยู่โดดเดี่ยวหรือเป็นคู่ ไม่ค่อยรวมฝูง และหลบซ่อนในพุ่มไม้ทึบ ทำให้ยากต่อการสังเกตหรือถ่ายภาพ
- การทำรัง : ทำรังเป็นรูปถ้วยตื้นๆ จากหญ้า ใบไม้ เศษพืช รังมักอยู่ในพุ่มไม้หรือกิ่งไม้สูงต่ำตามแต่จะหาปลอดภัยได้ วางไข่ครั้งละ 2–3 ฟอง
สรุป
นกเปล้าหน้าแดงเป็นนกประจําถิ่นของไทย พบเฉพาะภาคใต้ตอนใต้สุด พบไม่บ่อยและปริมาณไม่มากนัก สถานภาพตามกฎหมายนกเปล้าหน้าแดงเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง อย่างไรก็ตามมีความสำคัญในการสร้างความตระหนักรู้เรื่องการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนและการอนุรักษ์ประชากรในธรรมชาติ เพื่อคงความสมบูรณ์ของระบบนิเวศในพื้นที่อาศัยของนกชนิดนี้ต่อไป
บทความที่เกี่ยวข้อง
- ปฏิทิน เงินเดือนข้าราชการมิถุนายน 2568 เช็กตารางจ่ายทั้งสองงวด พร้อมฐานเงินเดือนใหม่
- ราคาทอง วันนี้ 15 มิถุนายน 2568 ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง ตลาดทองไทยหยุดวันอาทิตย์ คาดปรับใหม่พรุ่งนี้ตามราคาทองโลก
- เช็กเลย !! ฤกษ์ดี มิถุนายน 2568 สำหรับฤกษ์ออกรถใหม่ ขึ้นบ้านใหม่ หรือจัดงานมงคล พร้อมหลีกเลี่ยงวันโลกาวินาศในเดือนนี้
- 77jili เว็บตรงมาแรง ศูนย์รวมเกมสล็อตสุดมันส์ อย่างเกมสล็อต Mega Shark Madness ค่าย RG SLOT โบนัสแตกรัวๆ ทดลองเล่นฟรีได้แล้ววันนี้
- ปรับโฉมใหม่! ศึกแห่งศักดิ์ศรี ฟุตบอลโลกแชมป์โลกสโมสร ยกระดับความยิ่งใหญ่ ตื่นเต้นเร้าใจได้ที่เวทีแห่งนี้!